ตระการตา! ภาพชุด “โขน” ไทย กัมพูชา พม่า ลาว และอื่นๆ จากอดีตถึงปัจจุบัน

โขน มีพัฒนาการจากหนังใหญ่เรื่องรามายณะ ซึ่งเป็นวรรณกรรมอินเดียโบราณ เพื่อยอพระเกียรติพระเจ้าแผ่นดินที่ทรงเป็นประดุจอวตารของพระนารายณ์มาปราบยุคเข็ญให้บ้านเมืองร่มเย็น เมื่อกลุ่มคนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รับแนวคิดและอิทธิพลจากวรรณกรรมดังกล่าว ได้นำมาปรับเปลี่ยนและพัฒนาโดยมีท่วงท่าพื้นเมือง ซึ่งมาจาก “ท่ากบ” และ “ท่ายืดยุบ” ซึ่งในอินเดียไม่มี คำเรียกชื่อ โขนละคร มีรากจากตระกูลชวา-มลายู ว่า “เลกอง” เขมรเรียก “ลโคน โคล” หรือ ละครโขน ไทยใช้ว่า “โขนละคอน” ปัจจุบันสะกดเป็น “โขนละคร” ลาวมี “พระลักพระลาม” ส่วนพม่าก็มี “หย่าม่ะซัตด่อว์” ซึ่งแปลว่า “รามชาติ” ดังนั้น จึงนับว่าโขนเป็น “วัฒนธรรมร่วม” เพราะมีรากเหง้าความเป็นมาร่วมกันตั้งแต่ครั้งยังไม่มีเส้นพรมแดนประเทศ ทุกชาติจึงเป็นเจ้าของร่วมกัน

และต่อไปนี้ คือ ภาพชุดโขนอุษาคเนย์ ที่ล้วนแต่งดงามในแบบของตัวเอง

“เลกอง” อินโดนีเซีย

เลกอง อินโดนีเซีย ภาพจาก wikipedia
เลกอง อินโดนีเซีย ภาพจาก wikipedia
เลกอง อินโดนีเซีย ภาพจาก wikipedia
เลกอง อินโดนีเซีย ภาพจาก wikipedia

“ลโคน โคล” กัมพูชา

 

"ลโคน โคล" ภาพจากwww.angelfire.com
“ลโคน โคล” ภาพจากwww.angelfire.com
"ลโคน โคล" กัมพูชา
“ลโคน โคล” กัมพูชา ภาพจาก wikiwand.com

“โขน” ไทย

 

Advertisement
โขน สมัยปลายรัชกาลที่ 4 ของไทย
โขน สมัยปลายรัชกาลที่ 4 ของไทย

 

โขนไทย ภาพจากกรมศิลปากร
โขนไทย ภาพจากกรมศิลปากร
โขไทย ภาพจากกรมศิลปากร
โขนไทย ภาพจากกรมศิลปากร

“หย่าม่ะซัตด่อว์”พม่า

 

“หย่าม่ะซัตด่อว์” ของพม่า
“หย่าม่ะซัตด่อว์” ของพม่า (ไม่ทราบที่มาภาพ)

 

Advertisement
ภาพจาก flickr.com
“หย่าม่ะซัดด่อว์” ของพม่า ภาพจาก flickr.com

 

“พระลักพระลาม” ลาว

 

นาฏยศิลป์ในราชสำนักลาว นักวิชาการเชื่อว่าเป็นการแสดงโขนเรื่อง "พระลักพระลาม"
นาฏยศิลป์ในราชสำนักลาว นักวิชาการเชื่อว่าเป็นการแสดง “พระลักพระลาม”

 

พระลักพระลาม ภาพจาก wikipedia
พระลักพระลาม ภาพจาก wikipedia
QR Code
เกาะติดทุกสถานการณ์จาก Line@matichon ได้ที่นี่
Line Image