เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
หน้าแรก แท็ก ประสานักดูนก

แท็ก: ประสานักดูนก

ประสานักดูนก : นกกระเต็นหัวสีน้ำเงิน : โดย นสพ.ไชยยันต์ เกษรดอกบัว

นกกระเต็นหัวสีน้ำเงิน ทริปดูนกฟิลิปปินส์ ที่เกาะมินดาเนา เมื่อ 2 สัปดาห์ก่อนนี้ จัดว่าไปดูนก 2 ชนิดเท่านั้นเองจริงๆ หมายหลักคือ “นกอินทรีกินลิง” ที...

คอลัมน์ ประสานักดูนก : หมู่บ้านแร้ง

เมื่อเดินทางถึงสนามบินเมืองเสียมราฐ ด้วยสายการบินไทยสไมล์ ไกด์ชาวกัมพูชามารอรับกลุ่มของเรา 5 คนแล้วเดินทางไปแหล่งดูนกมหาเทพ คือ นกช้อนหอยใหญ่ และ นกช้...

ดูนกตากาล็อก (5) : คอลัมน์ประสานักดูนก

ในสวน Peopležs Park นอกจากนกอีแพรดฟิลิปปินส์แล้ว มีนกอีกไม่มากนัก แต่น่าแปลกใจที่พบ นกอีเสือสีน้ำตาล ถึง 3 ตัว แต่ละตัวจับจองกิ่งไม้ ห่างกัน 20-30...

คอลัมน์ประสานักดูนก : นกอินทรีเล็ก

อินทรี! ลานนับเหยี่ยวอพยพจะคึกคักขึ้นมาทันที เพราะขึ้นชื่อว่านกอินทรี สื่อถึงนกเทพ มีจำนวนน้อย และพบเห็นยาก ในบรรดานกอินทรีแท้ ที่อพยพผ่านบ้านเรา ...

หลง คอลัมน์ ประสานักดูนก

"เหยี่ยวตีนแดง" เป็นเหยี่ยวปีกแหลมอพยพ ขนาดเล็ก จะผ่านประเทศไทยในฤดูกาลอพยพต้นหนาวตั้งแต่เดือนตุลาคม เหยี่ยวหลายแสนตัวจากไซบีเรีย จีนและมองโกเลียจะ...

คอลัมน์ ประสานักดูนก: First Flight

วันเสาร์ที่ 26 พฤศจิกายน 2559 พญาเหยี่ยวอีกตัว มีโอกาสกลับคืนป่าเต็งรัง บ้านที่นักล่ามีปีกพึงอาศัยอยู่ ทำหน้าที่ควบคุมประชากรของนกและสัตว์ป่าชนิดอื่นๆ...

คอลัมน์ ประสานักดูนก : เรื่องราวของนกนักล่า(4) ‘เหยี่ยวหน้าเทา’

ในสัปดาห์ที่ 3 ของเดือนตุลาคม ตัวเอกของเทศกาลชมเหยี่ยวอพยพภาคใต้ คือ เหยี่ยวหน้าเทา เหยี่ยวอพยพหลัก ชนิดที่ 5 มีจำนวนนับมากเป็นอันดับที่ 4 รองจากเหยี่...

คอลัมน์ ประสานักดูนก : เตรียมตัว… ต้อนรับเหยี่ยวอพยพ

เหยี่ยวนกเขาพันธุ์ญี่ปุ่น อพยพผ่านเขาเรดาร์ อ.บางสะพานน้อย จ.ประจวบคีรีขันธ์ ไปแล้วเมื่อวันที่ 3 กันยายน ศกนี้ เหยี่ยวชนิดนี้เป็นเหยี่ยวอพยพหลัก ชนิดแ...

ประสานักดูนก : Raptor Day 2016

เหยี่ยวนกเขาพันธุ์ญี่ปุ่นตัวแรกเดินทางผ่านภาคตะวันตกและภาคใต้ไปแล้วเมื่อวันที่ 21 สิงหาคมที่ผ่านมา เป็นไปตามข้อมูลในอดีตที่ผ่านเป็นประจำทุกปีที่เหย...

คอลัมน์ ประสานักดูนก : กองหน้า

เหยี่ยวอพยพที่เดินทางผ่านภาคใต้ของไทย มีมากกว่า 20 ชนิด จากทั้งหมด 55 ชนิด มี 6 ชนิดที่มีจำนวนมากกว่า 1000 ตัวต่อฤดูกาลอพยพต้นหนาว ตั้งแต่เดือนสิงหาคม...

ติดตามเรา

ข่าวเด่นประจำวัน