เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
หน้าแรก ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

ระบอบการปกครองสมัยพุทธกาล

นักคิดชาวตะวันตกมักมองปัญหาการปกครองเป็นเรื่องของระบบ ซึ่งอาจเพราะเชื่อว่าปัจเจกชนเหมือนกันในคุณธรรม ล้วนเป็น “สัตว์การเมือง” และต่างก็แสดงความต้องการ...
ดุลยภาพ ดุลยพินิจ : ดวงตาของฌาน : โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

ดุลยภาพ ดุลยพินิจ : ดวงตาของฌาน

ในฌานสูตรมีพระพุทธพจน์ว่าอาสวะสิ้นไปเพราะอาศัยฌานทั้งหลาย ฌานเป็นปัจจัยของการบรรลุธรรม ทว่าทำไมพราหมณ์โบราณที่เป็นฤๅษีดาบสและเจริญฌานในสมัยก่อนพุทธ...

ผู้ไม่เลี้ยวกลับ โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

  การเดินทางของปุถุชนไปสู่ความเป็นอริยะสำเร็จผลได้น้อย แม้ปรารถนาข้ามสู่ฝั่งโลกุตระหากใช้วิธีการที่ผิดย่อมมิอาจไปถึง บ้างไปได้แค่เลาะไปมาริมตล...
มรรคและอริยมรรค : โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

มรรคและอริยมรรค : โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

อริยมรรคอันมีองค์แปดจำแนกได้เป็น 3 ส่วนคือศีล สมาธิและปัญญาและเรียกอีกอย่างว่า “อริยอัฏฐังคิกมรรค” สติปัฏฐานหรือโพธิปักขิยธรรมเป็นทางสายเดียวที่จะนำไป...

การเดินทางในอริยสัจ : โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสรู้อริยสัจ 4 สิ่งที่ยากมากสำหรับชาวพุทธคือการปฏิบัติเพื่อให้เข้าใจอริยสัจ 4 นั้นกระทำได้อย่างไร ในคืนวันตรัสรู้ พระพุท...

ปัญญาของโพชฌงค์ โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

โพชฌงค์เป็นคำที่พระพุทธองค์ทรงบัญญัติขึ้นใหม่ ไม่มีคำที่ใกล้เคียงในสมัยก่อนพุทธกาล พุทธศาสนิกชนจำนวนมากคุ้นเคยกับคำนี้ว่าเป็นบทสวดที่ทำให้หายจากความเจ...

สมาธิและจิตนอกสำนึก โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

ผู้ครองเรือนที่สนใจการปฏิบัติธรรมมีวัตถุประสงค์เฉพาะตน โดยทั่วไปในระยะเริ่มต้นอาจขาดความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้อง การศึกษาปริยัติและคู่มือในระหว่างการฝึ...

สติและสัมปชัญญะ โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

การปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนามีความเป็นลำดับของศีล-สมาธิ-ปัญญา หลายท่านเห็นว่าสติเป็นสิ่งที่ขาดไปในการปฏิบัติทางจิตก่อนพุทธกาล และดังนั้นสติจึงเป็นหัวใ...

ธรรมฝ่ายตรัสรู้ : โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมโปรดบุคคลจำนวนมากมายทั้งที่เป็นนักบวชและผู้ครองเรือน บางส่วนฝึกฝนทางจิตมาก่อน จำนวนมากไม่เคยปฏิบัติมาเลย พุทธสา...

การฟื้นฟูการปฏิบัติธรรม สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ (1) : โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

ในสยามสมัยหลังกรุงเก่า การฟื้นฟูการปฏิบัติธรรมเป็นส่วนสำคัญของการสืบทอดพระพุทธศาสนามิให้เสื่อมสูญไปตามภาวะสงครามและสภาพบ้านเมืองที่มีปัญหาขื่อแปเป็นเว...

ติดตามเรา

ข่าวเด่นประจำวัน