แท็ก: ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์
ดุลยภาพ ดุลยพินิจ : เมตตาไม่มีประมาณ เมตตาตลอดโลก โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์
มีผู้บันทึกไว้ว่าประมาณปี พ.ศ.2540 ท่านพระอาจารย์หลวงปู่หลอด ปโมทิโตเคยกล่าวกับหลวงปู่บุญหนา ธัมมทินโนซึ่งไปกราบนมัสการท่านที่วัดใหม่เสนานิคม ลาดพร้าว...
ความอยากได้ในสัมผัส : โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์
พระภิกษุในธรรมวินัยต้องถือพรหมจรรย์ที่มีระยะห่างจากการสัมผัสของเพศตรงข้าม ผู้ที่ยังเสน่หาและกระหายในทางกามมักจำต้องลาสิกขาก่อนเวลา แห่งที่ของพระภิกษุค...
มรรคและอริยมรรค : โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์
อริยมรรคอันมีองค์แปดจำแนกได้เป็น 3 ส่วนคือศีล สมาธิและปัญญาและเรียกอีกอย่างว่า “อริยอัฏฐังคิกมรรค” สติปัฏฐานหรือโพธิปักขิยธรรมเป็นทางสายเดียวที่จะนำไป...
การเดินทางในอริยสัจ : โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์
สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสรู้อริยสัจ 4 สิ่งที่ยากมากสำหรับชาวพุทธคือการปฏิบัติเพื่อให้เข้าใจอริยสัจ 4 นั้นกระทำได้อย่างไร
ในคืนวันตรัสรู้ พระพุท...
ปัญญาของโพชฌงค์ โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์
โพชฌงค์เป็นคำที่พระพุทธองค์ทรงบัญญัติขึ้นใหม่ ไม่มีคำที่ใกล้เคียงในสมัยก่อนพุทธกาล พุทธศาสนิกชนจำนวนมากคุ้นเคยกับคำนี้ว่าเป็นบทสวดที่ทำให้หายจากความเจ...
ดุลยภาพดุลยพินิจ : วัตถุนิยมของชาวพุทธ ธาตุและสภาวธาตุ : โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์
ท่านพระอาจารย์ทิวา อาภากโร ได้กล่าวไว้ว่า ธาตุในพระพุทธศาสนาที่จริงแล้วเป็นสภาวะหรือ State มิใช่ Elements เหมือนดังที่แปลกันแบบตะวันตก
งานนิพนธ์ที่...
ดุลยภาพ ดุลยพินิจ : การปฏิบัติธรรมก่อนพุทธกาล โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์
ในยุคสมัยก่อนพุทธกาลเล็กน้อย การเสาะหาความเข้าใจเกี่ยวกับชีวิตและหนทางพ้นทุกข์เริ่มแพร่หลายอย่างมาก พราหมณ์โบราณซึ่งสืบทอดการปฏิบัติทางจิตแบบชนพื้...
ดุลยภาพดุลยพินิจ : ธรรมก่อนพุทธกาล โดย : ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์
การเข้าถึงพระธรรมที่ชาวพุทธต้องมีอยู่เสมอคือการปฏิบัติเพื่อให้เกิดภาวนามยปัญญา การฟังการอ่านและการคิดวิเคราะห์ก็เป็นแนวทางที่สำคัญยิ่งซึ่งเรียกว่าสุตม...
การฟื้นฟูการปฏิบัติธรรม สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ (2) : โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์
เมื่อเข้าสู่รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว การปฏิบัติธรรมเป็นที่นิยมเพิ่มขึ้น คณะธรรมยุติกนิกายเป็นที่ศรัทธาเลื่อมใสทั้งในด้านวินัยสงฆ์แ...
คอลัมน์ดุลยภาพ ดุลพินิจ อุปสงค์เทียมในระบบการศึกษา โดย : ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์
ในขณะที่หลายฝ่ายเห็นว่ามหาวิทยาลัยในประเทศไทยนั้นมีจำนวนมากมายเกินไป สร้างทั้งปัญหาคุณภาพของบัณฑิตและปัญหากำลังการผลิตล้นเกิน
แต่บางฝ่ายเห็นว่าจำนว...