เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพฤหัสบดีที่ 25 เมษายน 2567
หน้าแรก แท็ก ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

แท็ก: ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

ดุลยภาพดุลยพินิจ : วัตถุนิยมของชาวพุทธ ธาตุและสภาวธาตุ : โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

ท่านพระอาจารย์ทิวา อาภากโร ได้กล่าวไว้ว่า ธาตุในพระพุทธศาสนาที่จริงแล้วเป็นสภาวะหรือ State มิใช่ Elements เหมือนดังที่แปลกันแบบตะวันตก งานนิพนธ์ที่...

ดุลยภาพ ดุลยพินิจ : การปฏิบัติธรรมก่อนพุทธกาล โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

ในยุคสมัยก่อนพุทธกาลเล็กน้อย การเสาะหาความเข้าใจเกี่ยวกับชีวิตและหนทางพ้นทุกข์เริ่มแพร่หลายอย่างมาก พราหมณ์โบราณซึ่งสืบทอดการปฏิบัติทางจิตแบบชนพื้...

ดุลยภาพดุลยพินิจ : ธรรมก่อนพุทธกาล โดย : ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

การเข้าถึงพระธรรมที่ชาวพุทธต้องมีอยู่เสมอคือการปฏิบัติเพื่อให้เกิดภาวนามยปัญญา การฟังการอ่านและการคิดวิเคราะห์ก็เป็นแนวทางที่สำคัญยิ่งซึ่งเรียกว่าสุตม...

การฟื้นฟูการปฏิบัติธรรม สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ (2) : โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

เมื่อเข้าสู่รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว การปฏิบัติธรรมเป็นที่นิยมเพิ่มขึ้น คณะธรรมยุติกนิกายเป็นที่ศรัทธาเลื่อมใสทั้งในด้านวินัยสงฆ์แ...

คอลัมน์ดุลยภาพ ดุลพินิจ อุปสงค์เทียมในระบบการศึกษา โดย : ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

ในขณะที่หลายฝ่ายเห็นว่ามหาวิทยาลัยในประเทศไทยนั้นมีจำนวนมากมายเกินไป สร้างทั้งปัญหาคุณภาพของบัณฑิตและปัญหากำลังการผลิตล้นเกิน แต่บางฝ่ายเห็นว่าจำนว...

ดุลยภาพดุลยพินิจ : ลมหายใจของชาวพุทธ อานาปานสติและอานาปานสติสมาธิ : โดยตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

ลมหายใจของชาวพุทธ อานาปานสติและอานาปานสติสมาธิ ลมหายใจเป็นเครื่องบ่งบอกความมีชีวิตของมนุษย์ เมื่อยังไม่คลอดออกมาดูโลกต้องอาศัยเลือดมารดาหายใจ ทว่า...

โรงงานของระบบการศึกษา โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

ระบบการศึกษาของไทยมีการผลิตที่ล้นเกินและมีข้อกังขาด้านคุณภาพมาเป็นเวลานานแล้ว การทุ่มเทงบประมาณของรัฐจำนวนมากมายทุกปีมิได้ทำให้คุณภาพการศึกษายกระดับขึ...

ชื่อเสียงและคุณภาพของมหาวิทยาลัย โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

ความตกต่ำของระบบการศึกษาในประเทศไทยมักได้รับสนใจเมื่อเป็นข่าวว่าหน่วยงานเอกชนบางแห่งแสดงออกมาอย่างเปิดเผยว่าจะไม่รับพนักงานจากบัณฑิตที่จบจากมหาวิทยาลั...

ความคุ้มค่าของระบบการศึกษา : โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

ระบบการศึกษาของไทยถูกเรียกร้องให้มีการปฏิรูปมาเนิ่นนานแล้ว ความล่าช้าที่ไม่เท่าทันการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีได้สร้างความกังวลเกี่ยวกับความล...

ดุลยภาพดุลยพินิจ : ความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีน : โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

สาธารณรัฐประชาชนจีนเคยถูกคาดคะเนไว้อย่างถูกต้องว่าจะเป็นยักษ์ใหญ่ที่ตื่นจากหลับ และถึงแม้จะมิใช่มหาอำนาจสูงสุดแห่งศตวรรษนี้ ก็มีความโดดเด่นเป็นที่ประจ...

ติดตามเรา

ข่าวเด่นประจำวัน