เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
หน้าแรก แท็ก ศูนย์ข้อมูลมติชน

แท็ก: ศูนย์ข้อมูลมติชน

Science Insights : พายุหมุนเขตร้อนกับโลกร้อน โดย ดร. บัญชา ธนบุญสมบัติ

คำถามหนึ่งที่มีคนสงสัยกันมาก คือ ภาวะโลกร้อน (global warming) ส่งผลกระทบต่อพายุหมุนเขตร้อน (tropical cyclone) หรือไม่? อย่างไร? เนื่องจากคำถามนี้มี...

Natural Science : แฟรงเกนสไตน์ โปรโตเซลล์ และกำเนิด “ชีวิต (สังเคราะห์)” โดย ดร.ภาคภูมิ ทรัพย์สุนทร

นวนิยายสยองขวัญชื่อดัง “แฟรงเกนสไตน์” เล่าเรื่องของ “วิกเตอร์ แฟรงเกนสไตน์” นักศึกษาแพทย์ชาวสวิสที่เอาซากชิ้นส่วนมนุษย์มาเย็บติดกันเป็นตัวจากนั้นก็ใช้...

Science Insights : 10 เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ ‘หมวกเมฆสีรุ้ง’ โดย ดร. บัญชา ธนบุญสมบัติ

ปรากฏการณ์ในบรรยากาศรูปแบบหนึ่งที่งดงามสะกดสายตา คือ "หมวกเมฆสีรุ้ง"  จึงขอชวนมาเรียนรู้แง่มุมพื้นฐานและเกร็ดน่ารู้ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกันครับ 1  ) ...

Science Insights : ลานีญา 3 ปีซ้อน ตอนที่ 2/2 โดย ดร. บัญชา ธนบุญสมบัติ

ในบทความเรื่อง ลานีญา 3 ปีซ้อน ตอนแรก ผมได้เกริ่นไปว่าเรากำลังอยู่ในช่วงเวลาพิเศษทางลมฟ้าอากาศ เพราะเป็นช่วงที่เกิดลานีญา 3 ปีติดๆ กัน เรียกว่า triple...

Natural Science : ละครสลับบทกับสมดุลนิเวศน์ของยีน โดย ดร.ภาคภูมิ ทรัพย์สุนทร

ละครประกอบด้วยกลุ่มนักแสดงที่เล่นตามบท นักแสดงแต่ละคนอาจจะสวมบทเป็นตัวละครพระเอก นางเอก นางอิจฉา โจร คนใช้ ฯลฯ แต่ละตัวละครมีบุคลิก อุปนิสัย พรสวรรค์ ...

Science Insights : ลานีญา 3 ปีซ้อน ตอนที่ 1/2 โดย ดร. บัญชา ธนบุญสมบัติ

ช่วงเวลาตั้งแต่เดือนกันยายน ค.ศ. 2020 ถึงราวต้นปี ค.ศ. 2023 อาจนับได้ว่าเป็นช่วงเวลาพิเศษในทางลมฟ้าอากาศ เพราะเป็นช่วงที่เกิดลานีญา 3 ปีติดๆ กัน เรียก...

Natural Science : ขุมทรัพย์ในจีโนม ล่ามแปลภาษา และแม่ครัวระดับเซลล์ โดย ดร.ภาคภูมิ ทรัพย์สุนทร

ดีเอ็นเอเป็นหอสมุดคู่มือการทำงานของเซลล์ มีคลังหนังสือหมวดใหญ่ว่าด้วยกระบวนเคมีสังเคราะห์ในเซลล์ (metabolism) ถ้าเปรียบเซลล์เป็น “แม่ครัว” หนังสือหมวด...

Science Insights : 10 เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ ‘อาร์คัส’ โดย: ดร. บัญชา ธนบุญสมบัติ

ช่วงเช้าวันจันทร์ที่ 29 สิงหาคม 2565 คงเป็นอีกวันที่หลายคนในกรุงเทพและปริมณฑลจะจดจำไปอีกนาน เหตุเพราะเช้าวันนั้น เมฆสีเทาเข้มปกคลุมท้องฟ้ากินพื้นที่กว...

Science Insights : การทรงกลดผลึกพีระมิด  โดย ดร. บัญชา ธนบุญสมบัติ

ในช่วงหน้าฝน   เราจะมีโอกาสเห็นการทรงกลดได้ค่อนข้างบ่อย เนื่องจากส่วนบนของเมฆฝนฟ้าคะนองมักถูกทิ้งไว้บนฟ้า เรียกว่า   เมฆรูปทั่งผู้กำพร้า (orphan anvil...

Natural Science : พลาสมิด ปรสิตวิตถารและเซ็กซ์หมู่ระดับไมโคร โดย ดร.ภาคภูมิ ทรัพย์สุนทร

กลางงานปาร์ตี้ที่เบียดเสียด สหายแปลกหน้าที่ยืนอยู่ใกล้ๆเหยียด “แขน” มาแตะคุณเบาๆ ทันใดนั้นเชือกประหลาดยาวสามสิบกว่าเมตรทะลุเข้าร่างคุณในไม่กี่นาที หน้...

ติดตามเรา

ข่าวเด่นประจำวัน