เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพฤหัสบดีที่ 25 เมษายน 2567
หน้าแรก แท็ก เกษียร เตชะพีระ

แท็ก: เกษียร เตชะพีระ

“รัฐพันลึก vs. สังคมพันลึก” (ตอนกลาง) โดย เกษียร เตชะพีระ

"รัฐพันลึก vs. สังคมพันลึก" (ตอนกลาง) ระหว่างผมกำลังนั่งอ่านนั่งคิดเรื่อง "รัฐพันลึก" (Deep State) ของไทยจากข้อเขียนของ อาจารย์เออเชนี เมริโอ, ผาสุก ...

“รัฐพันลึก vs. สังคมพันลึก” (ตอนต้น) โดย เกษียร เตชะพีระ

"รัฐพันลึก vs. สังคมพันลึก" (ตอนต้น) ข้อคิดเรื่อง Deep State หรือที่ อาจารย์ผาสุก พงษ์ไพจิตร แปลเป็นไทยอย่างแยบคายว่า "รัฐพันลึก" ซึ่ง อาจารย์เออเชนี...

เสวนา มธ. คึกคัก “เกษียร” แจก “เอฟ” ร่างรธน.ฉบับมีชัย ชี้ผูกพัน 20 ปี 4 รัฐบาล

เมื่อเวลา 13.00 น. วันที่ 5 พฤษภาคม ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ท่าพระจันทร์ โครงการบัณฑิตศึกษา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา จัดงานเสวนา "รัฐธรรมนูญกับประช...

แผนพัฒนาเทคโนแครตไทย : ยิ่งเติบโตยิ่งไม่สมดุล โดย เกษียร เตชะพีระ

แผนพัฒนาเทคโนแครตไทย : ยิ่งเติบโตยิ่งไม่สมดุล ความคิดชี้นำเบื้องหลังแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของเทคโนแครตไทยรับทอดมาจากแนวคิด "ยุทธศาสตร์ก...

แผนพัฒนาเทคโนแครตไทย : ยุทธศาสตร์การเติบโตอย่างไม่สมดุล โดย เกษียร เตชะพีระ

แผนพัฒนาเทคโนแครตไทย : ยุทธศาสตร์การเติบโตอย่างไม่สมดุล ผมควรกล่าวไว้แต่ต้นเลยว่างานวิชาการทางรัฐศาสตร์ไทยที่ชำแหละวิจารณ์และทำให้ผมเข้าใจปมเงื่อนอัน...

แผนแห่งชาติ : คนคำนวณ มิสู้ฟ้าลิขิต โดย เกษียร เตชะพีระ

แผนแห่งชาติ : คนคำนวณ มิสู้ฟ้าลิขิต อํานาจต่อให้มากเพียงไรก็ไม่ยั่งยืน ผู้กุมอำนาจก็เช่นกัน ถึงจะเป็นผู้กุมอำนาจอาญาสิทธิ์ก็ตาม เราจึงมักพบว่าผู้ก...

นักศึกษาธรรมศาสตร์ อ่านวิจารณ์หนังสือการเมืองกันอย่างไร? โดย เกษียร เตชะพีระ

นักศึกษาธรรมศาสตร์ อ่านวิจารณ์หนังสือการเมืองกันอย่างไร? ในบรรดาบทวิจารณ์ 112 ชิ้นต่อเอกสารหนังสือที่นักศึกษาวิชาการเมืองการปกครองไทยระดับปริญญาตรีแต...

นักศึกษาธรรมศาสตร์ เลือกอ่านวิจารณ์หนังสือการเมืองเล่มใด? – เกษียร เตชะพีระ

นักศึกษาธรรมศาสตร์ เลือกอ่านวิจารณ์หนังสือการเมืองเล่มใด? ในฐานะงานเก็บคะแนนส่วนหนึ่งของนักศึกษาวิชา ร.321 การเมืองการปกครองของไทย ในระดับปริญญาตรี ค...

“ทหารทำเพราะอะไร” (ตอนจบ) โดย เกษียร เตชะพีระ

เรามักเข้าใจไปเองว่ากองทัพฝึกกำลังพลให้พร้อมที่จะตายหรือสละชีวิตในการรบ ด้วยการปลูกฝังอุดมการณ์ต่างๆ ให้ เช่น ความรักชาติรักแผ่นดิน รักประชาชน รักประชาธิปไตย รักสิทธิเสรีภาพ รักพรรครักชนชั้น รักชาติพันธุ์เดียวกัน รักศาสนา ฯลฯ ทว่า ในความเห็นของครูเบ็น ส่วนของการปลูกฝังอุดมการณ์นั้นมีจริงเป็นธรรมดา แต่ไม่ใช่เรื่องหลัก ปัจจัยหลักที่กองทัพประจำการสมัยใหม่ใช้ฝึกฝนอบรมให้ทหารพร้อมที่จะตายในสนามรบคือวินัยของสถาบันหรือ institutional discipline ต่างหาก

“ทหารทำเพราะอะไร” (ตอนต้น) โดย เกษียร เตชะพีระ

วิชาแรกในชีวิตที่ผมได้เรียนกับครูเบ็นหรือโปรเฟสเซอร์เบเนดิกต์ แอนเดอร์สัน เมื่อครั้งไปศึกษาต่อปริญญาโท-เอกที่มหาวิทยาลัยคอร์แนล มลรัฐนิวยอร์ก สหรัฐอเม...

ติดตามเรา

ข่าวเด่นประจำวัน