บอร์ด กนง.คาดการณ์ศก.ปีนี้โต 2.5-3% ชี้ไม่รวมแจกเงินดิจิทัล ยันไทยยังไม่เข้าสู่ภาวะเงินฝืด

บอร์ด กนง.คาดการณ์ศก.ปีนี้โต 2.5-3% ชี้ไม่รวมแจกเงินดิจิทัล ยันไทยยังไม่เข้าสู่ภาวะเงินฝืด

บอร์ด กนง.คาดการณ์ศก.ปีนี้โต 2.5-3% เผยไม่รวม แจกเงินหมื่นดิจิทัล ระบุไม่ลดดอกเบี้ย เป็นดูแล้วไทยมีปัญหาเชิงโครงสร้าง ชี้เฟ้อที่ติดลบเพราะราคาพลังงาน อาหารสดฉุด แต่หากหักพวกนี้ออกไปเฟ้อก็ยังเป็นบวก และไทยยังไม่เข้าสู่ภาวะเงินฝืด

จากกรณีที่ที่ประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ ซึ่งเป็นการประชุมครั้งแรกของปี 2567 มีมติ 5 ต่อ 2เสียงให้คงดอกเบี้ยนโยบายต่อปีไว้ที่ 2.50% ต่อไปนั้น และอีก 2 เสียงเห็นควรให้ลดดอกเบี้ยง 0.25%นั้น

ล่าสุดเมื่อวันที่นายปิติ ดิษยทัต เลขานุการ คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) แถลงผลการประชุม กนง. ในวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2567 ว่า จากมติดังกล่าวทางกนง.มองว่า ภาพใหญ่ศก.ไทยฟื้นตัวจากโควิดในระดับหนึ่ง หรือเกือบสมบูรณ์ ซ่ึ่งการฟื้นตัวอาจไม่เร็วหากเทียบกับวิกฤตอื่นๆ ก่อนหน้านี้ เช่น ช่วงหลังเหตุการณ์น้ำท่วมปี 2554 แต่ใกล้เคียงปี 40 อย่างไรก็ตามเศรศฐกิจไทบฟื้นตัวไม่ดีนั้นเป็นปัญหาจากทางเรื่องโครงสร้างที่กระแทก รวมทั้งรายได้จากการท่องเที่ยวไม่ได้เป็นดังคาด แม้ว่าตัวเลขนักท่องเที่ยวจะได้ตามเป้าที่ตั้งไว้ แต่รายได้จากนักทอ่งเที่ยวต่ำกว่าที่คาดการณ์ไว้ โดยพบว่า รายจ่ายต่อหัวต่อทริปลดลงและมีจำนวนวันพักที่ลดลงด้วยส่งผลต่อเนื่องมายังภาคเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังพบว่าการเบิกจ่ายงบประมาณล่าช้า แม้ว่าจะมีการคาดการณ์ไว้อยู่แล้วก็ตาม ขณะเดียวกันพบว่า งบลงทุนก็ต่ำกว่าที่ประมาณการไว้ โดยเมื่อเทียบกับปี 2019 แล้วพบว่าปีนี้ต่ำกว่า 14% และหากเทียบกับรายปีพบว่าเบิกงบต่ำกว่าถึง 33%

นอกจากนี้ศก.ไทยกำลังเผชิญปัญหาเชิงโครงสร้าง การฟื้นนตัวส่งออกไทยจะช้าเพื่อนบ้านมาหลายปีทำให้การแข่งขันลดลง ทำให้ไม่ได้รับเท่าที่ควร ความสามารถการแข่งขันของไทยในต่างประเทศลดลง ในประเทศก็ลดลงเพราะนำเข้ามาสูง เช่น สินค้าจากจีนเพิ่มมขึ้นต่อเนื่องในช่วงหลายปี มาตีตลาดบ้านเราทำให้การบริโภคในประเทศเผชิญท้าทายจากปริมาณสินค้านำเข้าโดยรวมก็เพิ่มขึ้น

ADVERTISMENT

นายปิติกล่าวว่า การที่นักทองเที่ยวค่าใช้จ่ายต่อทริปแนวโน้มลดลง จำนวนวันพักลดลงด้วย องค์ประกอบนักท่องเที่ยวอยู่สั้นลงใช้จ่ายน้อยลง นักท่องเที่ยวเท่าเดิมได้ประโยชน์ไม่เต๋็มที่ บริโภคในประเทศขยายต่อเนทองขับเคลื่อนศก. ส่วนการบริโภคที่เพิ่มขึ้นมาจากบริการ การผลิต ทั้งโรงแรมและอาหาร การบริโภคที่มีศักยภาพมีหลายปัจจัยทำให้เกิดการจ้างงาน รายได้เพิ่มต่อเนื่อง แต่อาจแตกต่างกันบ้างอิสระฟื้นตัวแต่ยังไม่มาก ความเชื่อมั่นผู้บริโภคก็ดีขึ้น แนวโน้มทำให้ขยายตัวต่อไป

1.ภาคการผลิตส่งออกไม่ได้ขยายตัว แตกต่างด้านจับจ่ายใช้สอยการผลิต ทำให้ผลทอดมาต่อที่จีดีพี
การขยายตัวศก.ทั้งหมดไม่รวมสินค้าคงคลัง พบว่า ที่ผ่านมาภาคการผลิตฟื้นตัวช้า แต่การบริโภคฟื้นตัวเร็ว จีดีพีไม่สูงมาก เพราะใช้สินค้าคงคลังถูกลดลทอนลง มีการเปลี่ยนไปมาก ไตรมาส 3 ปีที่แล้ว พบว่าปริมาณสินค้าคงคลังลด 9.8% เทียบปีต่อปี ส่วนการขายตัวศก.ไม่รวมแรงฉุด แต่การจับจ่ายใช้สอยโต 11% จากการที่ใช้สินค้าคงคลังที่สะสมไว้ ทำให้การประมาณการศก.เลยท้าทาย ปกตติสินค้าคงคลังหวือหวา
วัฎจักรนี้สินค้าคงคลังลดต่อเนื่องมา 8 ไตรมาส ซึ่งไม่เคยเป็นมาก่อน

ADVERTISMENT

2.จีดีพีไตรมาส 4 ปีที่แล้วที่คาดว่าต่ำพอสมควรทำให้คาดศก.ปี้นี้เอาแนวโน้มเดิม และดึงจุดต้้งต้นไตรมาส 4 ปีที่แล้วลง ทำให้ตัวเลขต่ำลงทางเทคนิค ซึ่งผลให้การั้งตั้งจีดีพีตัวนี้ลดลงจากเทคนิคจุดตั้งต้น แม้ว่าเดือนต่อเดือนจะดี และต่อปีอาจไม่สูง เพราะนำไปเปรียบเทียบกับฐานที่ต่ำ โดยกนง.คาดการณ์ว่าจีดีพีปีนี้ จะอยู่ที่ 2.5-3% ที่เป้าไม่สูง เพราะผลจากปัจจัยภายนอกและปัญโครงสร้างของไทย ส่วนการขยายตัวภาคเอกชน บริโภคในประเทศฟื้นตัว นักท่องเที่ยวต่างชาติก็เพิ่ม 34 ล้านคนในปีนี้ ก็ค่อยเป็นค่อยไป ความไม่แน่นอนทางศก.ก็มีอยู่ เป็นไปได้ว่ารัฐจะมีมาตรกระตุ้นเศรษฐกิจออกมาเพิ่ม ส่วนการส่งออกก็คาดว่าว่าจะเพิ่มขึ้น แต่เศรษฐกิจโลกก้ฟื้นตัวช้าเช่นกัน

“ตัวเลขประมาณการเศรษฐกิจดังกล่าวไม่ได้รวมกับมาตรการแจกเงินดิจิทัล 10,000 บาท เพราะมองว่าโครงการอาจจะต้องเลื่อนออกไปอีกระยะ จึงไม่ได่นำมารวมไว้ในการประมาณการเติบโตเศรษฐกิจครั้งนี้ไว้ด้วย”

นายปิติกล่าวว่า โดยภาพรวมแล้วแรงส่งยังดีอยู่ บอร์ดดูว่า การชะลอตัวศก.จากปัจัยภารนอกมาพิจารณาก่อน อัตราดอกเบี้นของไทยต่ำมากในโลก จึงต้องกระตุ้นอุปสงค์ในประเทศเป็นหลัก บริโภคในประเทศดีอยู่
ส่วนส่งออก การผลิตชะลอตัวเกิดจากปัจจัยโครงสร้างทำให้แก้ปัญหาส่งออกไม่ตรงจุด

ส่วนเรื่องค่าเงินนั้นไม่ได้เป็นกลไกลมาช่วยส่งออกได้อย่างยั่งยืน ดอกเบี้ยนโยบายไม่ได้เป็นเครือ่งมือแก้ปัญหาได้ตรงจุด ดอกเบี้ยส่วนเงินเฟ้อที่ต่ำลงโดยติดลบ 1.1% สะท้อนต่อเนื่องว่าเป็นเรื่องมาตรการพลังงานอาหารสด พวก ผัก สุกร เป็นอุปทานปริมาณผลิตออกมาเยอะทำให้กดราคาลงไป เป็นบางกลุ่มสินค้า ทั้งนี้จากการดูสินค้าโดยรวม 400 รายการสินค้าพบว่ามีการปรับตัวตัวเพิ่มขึ้น ลดลงแค่25% ไม่ใช่ภาวะะเงินฝืด หากหักพลังงานออกไปเงินเฟ้อก็ยังเป็นบวก

นายปิติกล่าวว่า ภาพรวมเฟ้อลดลงเร็วเป็นสิ่งที่ดี เพราะลดภาระค่าครองชีพปชช.ได้พอสมควร ระดับราคาหลายสินค้ายังคงสูงกว่าก่อนหน้านี้ เช่นไช่ไก่ เพิ่มขึ้น 20% น้ำมันก็เพิ่ม 30% จาก 3ปี ก่อน และเพื่อให้แน่ใจว่าเงินเฟ้อไม่กลับมากระทบค่าครองชีพประชาชน เชื่อว่าเงินเฟ้อจะไม่ลดลงอย่างยิั่งยืน เพราะเรายังไม่ได้อ่อนแอ เพราะการลดลงของเงินเฟ้อที่ผ่านมาลดลงในสินค้าบางกลุ่มและจะคลี่คลาดไปในอนาคต

ส่วเรื่องเม็ดเงินสินเชื่อในระบบ พบว่าสินเชื่อใหม่เข้าระบบสูงกว่าก่อนโควิดและช่วงโควิด แต่การที่สินเชื่อโดยรวมขายลดลงเพราะมีการชำระคืนหนี้สูง มีเม็ดเงินใหม่ไหลเข้าสู่ตลาดสูงในช่วงก่อนหน้านี้

เรื่องเสถีบรภาพทางการเงินความสามารถจับจ่ายสอยภาคเอกชนแนวโน้มดีขึ้น แต่ก็พบว่าหนี้ต่อจีดีพีสูงแต่ก็ยังดีอยู่ แต่อยากให้ลดลงมากมากกว่านี้ ดังนั้นจำเป็นต้องมีอัตราดอกเบี้นที่ไม่ซ้ำเติมการก่อหนี้เพิ่ม เพื่อให้ลดความเปราะบางทางด้านสินเชื่อลง เพราะหากดอกเบี้ยต่ำเกินไปเป็นเวลานานทำให้มีกผลต้นทุนทางการเงิน ก็ต้องพิจารณาว่าควรไม่ควรลงทุน เมื่อต้นทุนต่ำก็กระทบศก.พอสมควร

10ปีที่ผ่านมาที่ดอกเบี้ยลดต่ำ ทำให้ผู้ประกอบการมีกำไรน้อยกว่า ต้องรับภาระเป็นความเปราะบางของธุรกิจอยู่ เพราะกำไรไม่พอชำระหนี้ที่เพิ่มขึ้น เพราะจัดสรรทรัพยากรบางอย่างไม่ดี เมื่อดอกเบี้ยต่ำให้พวกนี้เปราะบาง จึงต้องทำให้ดอกเบี้ยอยู่ในอัตราที่เหมาะสม

นายปิติกล่าวว่า การดูเรื่องดอกเบี้ยต้องแยกแยะกัน หลายกลุ่มยังเปราะบาง ลูกหนี้กระทบโควิดก็มีมากทั้งยอดหนี้ส่วนบุคคล หนี้ครัวเรือนที่เปราะบางคือผู้มีรายได้น้อย อุปโภคบริโภคสูงกว่าดอกเบี้ย ระยะคืนหนี้สั้น กว่าและสูงกว่า ควรต้องมีมาตรการเฉพาะจุดเพื่อมาดูกลุ่มนี้ จึงได้มีการปรับโครงสร้างของกลุ่มนี้ด้วยการออกมาตรการต่างๆ ประกอบด้วย  1.มาตรการปล่อยสินสินเชื่อที่รับผิดชอบและเป็นธรรม บังคับแบงก์เรียกลูกหนี้มาดูแลอย่างน้อย 1 ครั้ง เป็นการปรับโครงสร้างหนี้ 2. หนี้เรื้อรัง ก็มีมาตรการเร่งรัดให้ปิดหนี้ได้ไม่เกิน 5 ปี 3.การดูแลความเป็นธรรม ห้ามคิดค่าปรับหากลูกค้าชำระหนี้ก่อนกำหนด

“ในการประชุม กนง.แลกเปลี่ยนกันเยอะมาก ว่า ศก.เราอยู่ในช่วงเปลี่ยนผ่าน ซึ่งปัจจัยทางโครงสร้างทำให้แรแย่ แต่เราก็ฟื้นจากโควิด มีแรงส่งฟื้นตัวได้แต่ช้ากว่าที่เราคาดไว้ ปัจจัยโครงสร้างที่ทอดยาวมานานฉุดยั้งศก.ไม่ให้โตเท่าที่ควร ปีที่แล้วนักทอ่งเที่ยวเพิ่ม 17 ล้านจากปีก่อนหน้า ภาคส่งออกศก.โลกซบเซา ตอนนี้เริ่มเพิ่มแล้ว อนาคตน่าจะกลับมาเป็นแรงเสิรมให้เราได้ ความคลุมเคลือที่ไม่แน่นอน ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยระยะสั้น และวัฏจักรโครงสร้างที่มีปัญหามานาน เช่น ฮาร์ดดิสไดร์ฟ พวกชิ้นส่วนต่างๆ จีนก็พึ่งตัวเองมากขึ้น หากภาคผลิตแรงส่งระยะสั้นไม่มาทำให้ศักยภาพต่ำกว่าด้วยซ้ำไป ดังนั้นดอกเบี้ยที่เป็นกลางควรจะเป็นเท่าไหร่หากศักยภาพต่ำกว่าที่คดาวไว้ ทำใหกก. 2 คน เลยให้ลดดบ.ลงนิดหน่อย”

นายปิติกล่าวว่า ส่วนเรื่องเงินเฟ้อ มีความสัมพันธ์กับการดำเนินนโยบายอย่างไร 80% มาจากพลังงานและอาหารสด ไม่เกี่ยวกับอุปสงค์ดอกเบี้ยเป็นเรื่องเฉพาะกลุ่ม เฟ้ออาจต่ำใกล้ระดับล่างเป้าหมาย ก็ยังไม่เป้นปัญหาใหญ่ศก. เพราะไม่ไปซ้ำเติมภาระค่าครองชีพปชช.เพราะศก.ก็ไม่ได้ดีมากขนาดนั้นเฟ้อไม่กระทบความเป็นอยู่ปชช.

ต้องดูระยะยาวเรื่องเสถียรภาพทางการเงินมีหนี้สูงปราะบางในหลายส่วนต้องใช้เวลาในการสะสาง หากดอกเบี้ยไม่เอื้อก็จะกัดกล่อนศักยภาพของศก.เอง เราขยายช้ากว่าปตท.เพราะสถานะงบดุลและหนี้ของเราด้วย เราดูผลกระทบทุกส่วนอย่างรอบด้าน

การที่รบ.กลัวว่าจะเป็นเงินฝืดนั้น มาจากแรงซื้อที่หายไปทุกคนไม่มีเงิน ราคาสินค้าทุกอย่างคนไม่จ่าย สินค้าลดลงทุกเป้าหมาย หากลดลงจากอำนาจซื้อที่หมดไปเป็นระยะยั่งยืนไม่ใช่ชั่วคราว ภาพที่เห็นไม่ได้เป็นแบบน้น เพราะราคาสินค้าที่ลดลงจากนอกประเทศ ฝนตก ไม่ได้ลดลยั่งยืน เงินเฟ้อจึงยังไม่สะท้อนว่าเป็นเงินฝืด

ภาพรวมแตกต่างกันหลายกลุ่มผุ้ประกอบการและปชช. รายได้ของผู้ประกอบอาชีพอิสระเพิ่มขึ้นแต่ยังไม่เท่ากับผู้มีรายได้ประจำ หลายกลุ่มยังมีปัญหาท้าทายปากท่อง แต่ตัวเลขที่สะท้อนในเงินเฟ้อ ต้องสะท้อนว่าไม่ซ์้ออาะไรักอย่างซื้อที่จำเป็น แต่ที่เราเห็นยังไม่เป้นเช่นนั้น สภาพรวมขยายตัวดี 7-8% โดย3ไตรมาสแรกปีที่แล้ว ไม่มีภาวะเงินฝืด

ถามว่าการที่ 2 กนง.ที่บอกให้ลดนั้นถกเถียงกันนานไม๊ นายปิติกล่าวว่าไม่ เป็นการหารือกันปกติ เสร็จประชุมตามเวลา แต่เป็นเนื้อหาสาระที่มีการแลกเปลี่ยนกัน เพราะทั้งเราและสำนักอื่นคาดว่าแรงส่งน่าจะเพิ่มขึ้น เช่นนักท่องเที่ยเข้ามาเป๊ะที่คาดวไว้ แต่ปรากฎเม็ดเงินไม่เท่ากับที่เราคาดไว้ ไม่แน่ใจว่าเปลี่ยนถาวร หรือแค่เฉพาะปีที่แล้ว ชั่วคราวหรือถาวร หากถาวะต้องดูระยะยาวว่าจะทำอย่างไรให้เหมาะสม แต่หากเป็นปัจจัยระยะสั้นก็้องต้องทำอีกแบบ ต้องดูอีกระยะ

เห็นพ้องว่าไทยมีปัญหาเชิงโครงสร้างต้องมีพวกนี้ออกมาเพื่อดันศก. และเสถียรภาพทางการเงินทีดีต้องดำเนนิต่อไป ไม่ควรลดดบ.เบี้ยเยอะ เพื่อดำเนินการนั้นไม่ใช่ ส่วนที่แตกต่างกันคือการชั่งน้ำหยักเชิงโครงสร้างและปัจจัย

ผู้สื่อข่าวถามว่า ศักยภาพศก.ไทยควรอยู่ที่เท่าไหร่ นายปิติกล่าวว่า หลายเจ้าประมาณการ โดย 3 ปีที่ผ่านมาอยู่ที่ 1.6,2.6 ปีที่แล้วอาจต่ำกว่า 2 หรืมใกล้เคียง เลยนำไปสู่การทบทวนศักยภาพศก.ที่เป็นจริง 2.5-3% ใกล้เคียงศักยภาพ ความยากของสิ่งที่จับต้องไม่ได้คือการประมาณการว่าจะเท่าไหร่ วัดไม่ได้ตรงๆ ต้องดูอาการคือ หากศก.โตร้อนแรงเกินศักยภาพนานเหมือนคนมาซือของแตของไม่ดีเงินเฟ้อก็บอกศักยภาพได้ เพราะ 80% ของเรามาจากน้ำมันโลก ผัดสด ฝนตก ภาคการเงินหากศก.โตเกินศักยภาพ จะทำให้เกิดฟ้องสบู่ได้ หากดบ.ต่ำเกินไป และมีตัวแปรอื่นๆ ด้วยที่สามารถดูได้และต้องใช้การวิเคราะห์ในหลายๆ แบบเยอะจับต้องไม่ได้ และกก.ต้องอัพเดทตลอดไม่ใช่ประมาณการแล้วลืมไปเลย ส่วนใหญ่เปลี่ยนไม่เร็วๆ ค่อยๆ เคลื่อน

นายปิดติกล่าวว่า สำหรับตัวเลขเศรษฐกิจที่โต 2.5-3% นั้น ธปท.ไม่ไดนำตัวเลขแจกเงินดิจิทัลไปรวมคาดการณ์ศก. โดยปกติกนง.นำภาคการคลังมาดูเต็มที่คำนึงถึงมาตรการที่จะทำควบคู่เสมอ เช่น มาตรการไฟฟ้า แรงงานขั้นต่ำ ดูหมด ทั้งงบประมาณด้วย แรงฉุดของภาคการคลังการเงินกระตุ้นเต็มที่พอศก.ค่อยๆฟื้นก็ค่อยๆถอยมา อาจช่วยเสริมปีนี้ปีหน้าเพื่อเป็นแรงงบวก ดิจิทัลวอลเล็ตก็ด้วย แต่ตองดูว่ามาเมือ่ไหร่และรูปแบบไหน ซึ่งก็ดูว่ามีการเคลื่อยไปอีกระยะ ก็เอามารวมแล้ว ตัวเล 2.5-3 %ไม่รวมดิจท้ลวอลเล็ต

โครงสร้าง ถกกันเยอะและนานว่าปัจจัยโครงสร้างกระทบนโยบาระยะยะตอไปอย่างไร หากมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยยะสำคัญก็ต้องมาดูให้สอดคลอ้งกับโครงสร้างที่เปลี่ยนไป ส่วนเรื่องจะทำให่อย่างไรให้สํกยภาพศก.ไทยเพิ่มขึ้น แต่ดูแล้วเป้นนอกเหนือจากธปท.ที่ทำได้ เช่นกฎหเกณฑ์กติการชให้ทำธุรกิจได้คล่องตัวสำคัญมาก การลงทุนที่ขาดหายไปนานทั้งเครืางอขจักเทคโนโลยี คน เพราะการศึกษามีคุณภาพไม่ค่อยดีที่ผ่านมา การจัดสรรทรัพยากรมีการกระจุกตัวในระบบมีปัญหา มีรายใหญ่ครองอยู่ในหลายส่วนของธุรกืจ ทำให้การแข่งขันไม่เข้มข้น

คุยเยอะแต่เป็นเรื่องนอกเหนือนโยบายทางการเงินที่ทำได้ พื้นฐานที่ศก.ทำได้คือต้องเสถียรภพาศก.และการเงิน หากไม่จะทำยากสิ่งที่สำคัญท่่สุดกนง.ทำให้คือให้มั่นใจว่าเสถียรภาพการเงินมั่นคงให้ศก.บรรลุที่แท้จริงได้ แม้ว่าจะมีอุปสรรคเรื่องดบ.นโยบายบ้าง

ส่วนเงินเฟ้อที่อยู่ขอบล่าง จะนำไปสู่การปับนโยบายหรือไม่ก็ต้องดูไปอีกระยะหนึ่ง เพราะเป้าเงินเฟ้อแบบยึดหยุ่นเป็นเป้าปานกลาง ต่างประเทศก็เป็น อยากให้มองแบบนั้นว่าใกล้ขอบบวกลบให้ไม่สร้างปัญหากับการดำเนินกิจกรรมศก.ให้โตตามศักยภาพได้

แรงกดดันทางการเมืองมีผลต่อการกดดนกนง.ไม๊ ตอบ ก็มีนะเพราะทำให้มองให้หลายแง่ ว่าควรจะต้องดูเรื่องอะไรบ้าง สิ่งที่เป้ฯปย.แสนดงความคิดเห็นกว่างขวางทำให้แน่ใจไว่าไม่ได้ลืมอะไร กก.ดูอย่างกว้างขวาง ดบ.กระทบทั้งผู้กู้ผู้ฝาก ผู้ลงทุนได้ผลตอบแทนที่ต่ำลง หากดบ.ต่ำไป มีมติระยะสั้นด้วยระยะสั้นหอาจได้ปย.และระยะยาวเสีย

ผู้สื่อข่าวถามว่า นโยบายการเงินการคลังต้องเดินไปด้วยกัน เราะต่างคนต่างมองว่าเดินไปคนละทาง นายปิติกล่าวว่า เราคุยกันตลอดในการที่จะดูนโยบายว่าภาพรวมนโยบายอื่นภาครัฐทำอะไรอยู่ การคุยพยายามจูนกันเพื่อให้ความเหมาะสม บางอย่างไปดูเฉพาะจุดไม่ได้ แต่ก็มีมาตรการเฉพาะเจาะจง เช่นการดูแลค่าครองชีพ มาตรการภาษี แต่ละเครื่องมือทำหย้าที่ที่เขาเก่งและเหมาะที่สุดในเครื่องมือนั้น ภาครัฐและกนง.มีจประสงค์สให้ศก.ขยายตัวมีซักยภาพและยั่งยืน เสถีรภพาการเงินก็พอดะ ศักยภาพก็โครงสร้างด้วย

ผู้สื่อข่าวถามต่อว่า ธปท.ให้แบงก์ชาติปล่อยกู้อย่างรับผิดชอบ หากกนง.ลดดบ.กระตุ้นบริโภคมากขึ้น กับหากแก้เชิงโครงสร้างต้องใช้เวลานาน เราทำได้ไม๊ตรงนี้เรื่องลดดบ. ตอบต้องดุบริบทว่าศก.ที่ชะลอลงมาจากไหนปัญหาคืออะไร ดบ.ช่วยได้ไม่ สรุปคือการส่งออกและท่องเที่ยว งบประมาณล่าช้า เรื่องเชิงโครงสร้าง บริโภคในปท.ขยายตัวสูงกว่าปกติ ลดดบ.ก็คงไม่ได้ผลขนาดนั้น ภาพรวมอาจเห็นได้ไม่ชัดหากใช้สินเชื่อหนี้ก็สูงทำเต็มสูบแล้วสุดท้ายอาจไม่สมดุลและยากไม่ยั่งยืนทั้งที่ที่อื่นไม่ได้แก้เลย เป็นการชั่งน้ำหนักที่ยากมาก ไม่มีอะไรปักหมุดว่าจะยื่นอย่างนี้ไปเรือยๆ รอบหน้าคงมีข้อมูลมากกว่านี้ก็มาประเมินใหม่ว่าจะมีอะไรเปลี่ยนหรือไม่ ต้องดูสถานการรณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป

ผู้สื่อข่าวถามว่า การที่ รัฐบาลกดดันให้กนง.ลดดอกเบี้ยลงนั้น นายปิติกล่าวว่า ไม่ได้กดดัน แต่คงมองว่าช่วยได้กว้างว่าลดแล้วคงได้ปประโยชน์ แต่มันก็คงไม่ง่าย รัฐบาลหวังดี และหากลดได้ก็เป็นเรื่องที่ดี ซึ่ง ทั้ง 2 ท่านก็นำเรื่องเหล่านี้มาดูกัน และ กก. 2 ท่านก็เห็นที่จะลดก็เป็นเรื่องที่ดี

นายปิติกล่าวว่า ผลกะทบเงินทุนเคลื่อนย้ายก็ต้องคำนึ่งถึงและดูแล้ว ซึ่งจข้อดีคือหนี้ตปท.ไม่เยอะ ค่าเงินบาทผันผวนเพิ่มแต่เคลื่อนไหวแบบมีเหตุลอธิบายได้ ก็ต้องจับตาเรื่องเงินทุนเคลื่อนย้ายไหลออก เพราะมองแนวโน้มศก.ในปท อีก 2สัปดาห์ สภาการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ก็จะแถลงตัวเลขศก.ที่แท้จริงออกมาแล้ว

การชั่งน้ำหนักที่กนง.คงดบ.ณ ขณะนี้ เราดูเรื่องเชิงวัฏจักร ซึ่งยังมีแนงสนับสนุนอยู่ หากไม่มาศักยภาพที่แท้จริงคืออะไรบ้าง เราต้องปรับจุดกลางได้หรือไม่ ส่วนเรื่องเอฟไอดีเอฟ ลดอัตราจัดเก็บเงินเข้ากองทุนที่ใช้ช่วงโควิดนั้น เรามีบทเรียนค่อนข่างหนักจากปี 97 ทำให้เรามีกองทุนนี้เพื่อมาดูความเสียหายที่มาจากการเงิน เป็นเรื่องระยะยายาวกับระยะสั้นเช่นเคย ไม่ใช้มาตรการที่ใช้ในช่วงปกติ ส่วนเรื่องดบ.กับการชำระหนี้ ดบ.ช่วยลดภาระหน่ได้บางส่วน 40% เป็นหนี้คงที่ไม่ได้อิงกับธปท.เช่นหนี้บ้าน เครดิตการ์ด

 

QR Code
เกาะติดทุกสถานการณ์จาก Line@matichon ได้ที่นี่
Line Image