เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพฤหัสบดีที่ 25 เมษายน 2567
หน้าแรก แท็ก คอลัมน์ ฟิสิกส์ธรรมดาสาระมันส์

แท็ก: คอลัมน์ ฟิสิกส์ธรรมดาสาระมันส์

ปริศนารถม้าที่ไม่ควรเคลื่อนไหว : คอลัมน์ฟิสิกส์ธรรมดาสาระมันส์

ปริศนานี้เป็นหนึ่งในปริศนาที่คลาสสิกที่ผู้เริ่มต้นศึกษาฟิสิกส์ทุกคนควรผ่านการขบคิด มันเป็นปัญหาที่เข้าใจได้ไม่ยาก แต่พอคิดแล้วจะพบว่าน่าสนใจมาก ปัญ...

คอลัมน์ ฟิสิกส์ธรรมดาสาระมันส์ : ปรากฏการณ์ชาโดว์แบนด์ (ตอนต้น)

ในขณะเกิดสุริยุปราคาเต็มดวงนั้นมีปรากฏการณ์หนึ่งที่น่าสนใจ แต่ไม่ค่อยเป็นที่รู้จักเกิดขึ้นก่อนที่ดวงจันทร์จะบังดวงอาทิตย์อย่างสมบูรณ์และหลังจากการบังก...

ต้นปี 2018 สถานีอวกาศเทียนกง-1žจะตกกลับมายังโลก : คอลัมน์ ฟิสิกส์ธรรมดาสาระมันส์

มีข่าวร้ายกับข่าวดีจะเล่าให้ฟัง เทียนกง ในภาษาจีนแปลว่า วังบนสวรรค์ชั้นฟ้าที่อยู่ของเหล่าเทพ ถูกนำมาตั้งเป็นชื่อสถานีอวกาศของประเทศจีนว่า สถานีอวกา...

มีสารอะไรอยู่ในผงซักฟอกและน้ำยาซักฟอกบ้าง? คอลัมน์ ฟิสิกส์ธรรมดาสาระมันส์

ในสารซักฟอกต่างๆ นอกจากจะมีสารที่ช่วยให้คราบสิ่งสกปรกหลุดออกมาได้ง่ายแล้ว ยังมีการใส่ส่วนผสมที่ทำให้ผ้าดูสดใสไม่หม่นหมองเข้าไปด้วย เรียกว่าสารฟอกขาว (...

คอลัมน์ ฟิสิกส์ธรรมดาสาระมันส์ : การค้นพบธาตุใหม่บนดวงอาทิตย์ (1)

Jules Janssen เกิดในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในครอบครัวที่ต้องทำงานแบบปากกัดตีนถีบ เขาจึงต้องทำงานหาเลี้ยงชีพตั้งแต่อายุยังน้อย ความมุมานะอุตสาหะส่งผล...

คอลัมน์ ฟิสิกส์ธรรมดาสาระมันส์ : การตรวจสอบทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป

แอร์วิน ฟรอยด์ลิช (Erwin Freundlich) เป็นนักดาราศาสตร์ชาวเยอรมันที่พยายามตรวจสอบความถูกต้องของทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปเป็นคนแรก เขาพยายามหาภาพสุริยุปราคา...

ฟิสิกส์ธรรมดาสาระมันส์ : ปีสุริยุปราคา(Eclipse year)

ทำไมสุริยุปราคาจึงไม่เกิดขึ้นทุกเดือน? หลายคนอาจคิดว่าสุริยุปราคาควรจะเกิดขึ้นทุกเดือน เนื่องจากดวงจันทร์ใช้เวลาในการโคจรมาอยู่ระหว่างโลกกับดวงอาทิ...

คอลัมน์ ฟิสิกส์ธรรมดาสาระมันส์ : การสังเกตการณ์ทางช้างเผือก

เราสามารถสังเกตเห็นทางช้างเผือกปรากฏเป็นแถบแสงจางๆ บนท้องฟ้าในค่ำคืนที่มืดสนิทได้ โดยทางช้างเผือกจะพาดผ่านท้องฟ้าเป็นทางยาว สถานที่ที่เราสามารถมองเห็น...

คอลัมน์ ฟิสิกส์ธรรมดาสาระมันส์ : ขีดจำกัดและปัญหาของกล้องโทรทรรศน์วิทยุ

ปัญหาใหญ่ของกล้องโทรทรรศน์วิทยุคือสัญญาณวิทยุนั้นอ่อนมากเมื่อเทียบกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงอื่นๆ กล่าวคือ พลังงานของโฟตอนนั้นแปรผกผันกับความยาวคลื่น...

คอลัมน์ ฟิสิกส์ธรรมดาสาระมันส์ : ดวงอาทิตย์มีอะไรน่าสนใจบ้าง (2)

ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ศูนย์กลางของระบบสุริยะ นักดาราศาสตร์พบว่าดวงอาทิตย์มีอายุประมาณ 4,600 ล้านปี มวลแทบทั้งหมดของดวงอาทิตย์เป็นแก๊สไฮโดรเจนที่เกาะกลุ...

ติดตามเรา

ข่าวเด่นประจำวัน