เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
หน้าแรก แท็ก ลลิตา หาญวงษ์

แท็ก: ลลิตา หาญวงษ์

พันธมิตรกองกำลังชาติพันธุ์และความกังวลของจีน โดย ลลิตา หาญวงษ์

ตั้งแต่ปลายเดือนตุลาคม กองกำลังชาติพันธุ์ 3 กลุ่ม ได้แก่ กองทัพปลดปล่อยตะอาง (TNLA) กองทัพพันธมิตรประชาธิปไตยแห่งชาติเมียนมา ของโกก้าง (MNDAA) และกองท...

รัฐฉานก่อนและหลังรัฐประหาร โดย ลลิตา หาญวงษ์

รัฐฉานเป็นรัฐที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในเมียนมา และคนฉานหรือไทใหญ่ก็มีจำนวนมากถึง 4-6 ล้านคน คิดเป็นประชากรร้อยละ 10 ของเมียนมาทั้งประเทศ ในทางภูมิศาสตร์ รั...

ข้อตกลงหยุดยิงทั่วประเทศกับจินตนาการของ‘รัฐ’ในพม่าที่ไม่เคยเป็นจริง โดย ลลิตา หาญวงษ์

ผู้ที่คุ้นเคยกับการเมืองในพม่าคงคุ้นเคยกับคำว่า “ข้อตกลงการหยุดยิงทั่วประเทศ” (National Ceasefire Agreement) หรือ NCA มาก่อนอย่างแน่นอน เพราะนี่คือโฆษ...

อ.ลลิตา หาญวงษ์ วิเคราะห์ ต้นธารความขัดแย้งในพม่า ยากจบลงได้

"ลลิตา หาญวงษ์" อาจารย์ภาควิชาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อธิบายถึงความเป็นมา ต้นเหตุแห่งความขัดแย้งในพม่า ที่ยากจะจบลง ติดตามชมรายละเอียดทั้...

ไทยพบพม่า : เครือข่ายแก๊งคอลเซ็นเตอร์ข้ามชาติในพม่า

ไทยพบพม่า : เครือข่ายแก๊งคอลเซ็นเตอร์ข้ามชาติในพม่า   เมื่อปีก่อน เพื่อนนักข่าวต่างชาติของผู้เขียนคนหนึ่งเกริ่นให้ฟังว่าเขาเริ่มติดตามและสืบสวนเครือ...

สื่อพม่ามองรัฐบาลชุดใหม่ของไทย โดย ลลิตา หาญวงษ์

ข่าวการเลือกตั้งมาจนถึงการจัดตั้งรัฐบาลของไทยเป็นประเด็นที่สังคมพม่าให้ความสนใจอย่างมาก มากขนาดที่ว่าเพื่อนๆ นักข่าวพม่าของผู้เขียนต้องถามผู้เขียนสม่ำ...

สัมภาษณ์ : “ลลิตา หาญวงษ์” การเลือกตั้งไม่ได้เป็นตัวกำหนด ประชาธิปไตยในพม่า

สัมภาษณ์พิเศษ "ลลิตา หาญวงษ์" อาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เผยถึงสถานการณ์การเมืองและเส้นทางสู่ประชาธิปไตยใน...

สังคมนิยมในพม่า ตอนจบ โดย ลลิตา หาญวงษ์

เมื่อรัฐสมัยใหม่ในพม่าก่อตัวขึ้นในปี 1948 เมื่อพม่าได้รับเอกราชจากอังกฤษ ภารกิจหลักของอู นุ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นมีอยู่ 2-3 อย่าง อย่างแรกคือการ “รวมช...

ความฝันและความหวังสู่กอทูเลของชาวกะเหรี่ยง โดย ลลิตา หาญวงษ์

กอทูเล (Kawthoolei) เป็นคำหรือกระบวนทัศน์ที่พบได้บ่อยมากในข่าวที่เกี่ยวกับความขัดแย้งและการสู้รบในรัฐกะเหรี่ยง ซึ่งปัจจุบันเรียกว่า “รัฐกะยิน” (Kayin ...

‘สังคมนิยม’ กับการสร้างรัฐสมัยใหม่ในพม่ายุคหลังเอกราช ตอนที่ 1 โดย ลลิตา หาญวงษ์

ตลอดศตวรรษที่ 19 ทุกประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยกเว้นไทย ตกอยู่ภายใต้การปกครองโดยเจ้าอาณานิคมตะวันตก สำหรับอาณานิคมของอังกฤษและเนเธอร์แลนด์ ทั้งสอ...

ติดตามเรา

ข่าวเด่นประจำวัน