เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
หน้าแรก แท็ก คอลัมน์ ฟิสิกส์ธรรมดาสาระมันส์

แท็ก: คอลัมน์ ฟิสิกส์ธรรมดาสาระมันส์

คอลัมน์ ฟิสิกส์ธรรมดาสาระมันส์: ชีวิตของชายผู้พัฒนาหลอด LED สีน้ำเงิน

ชูจิ นากามูระ เกิดในหมูบ้านประมงเล็กๆ แห่งหนึ่งในเกาะชิโกกุ (Shikoku) ประเทศญี่ปุ่น คนที่นั่นทำการเพาะปลูกเป็นหลัก มีการปลูกมันเป็นขั้นบริเวณเนินเขาด้...

ก้าวใหม่ของเตาปฏิกรณ์ฟิวชั่น : คอลัมน์ ฟิสิกส์ธรรมดาสาระมันส์

ล่าสุดนักฟิสิกส์อเมริกันและเยอรมันยืนยันการทำงานของเตาปฏิกรณ์ฟิวชั่นที่ชื่อ Wendelstein 7-X ว่าสามารถทำงานได้อย่างแม่นยำตามที่ออกแบบไว้ การทำแผนที่สนา...

5 สุดยอดภัยร้ายในอวกาศ : คอลัมน์ ฟิสิกส์ธรรมดาสาระมันส์

1.รังสีคอสมิค (cosmic rays) ในห้วงอวกาศนั้นเต็มไปด้วยรังสีพลังงานสูงที่เรียกว่ารังสีคอสมิค ซึ่งมาจากนอกระบบสุริยะ ส่วนมากเกิดจากการระเบิดของดาวฤกษ์...

คอลัมน์ ฟิสิกส์ธรรมดาสาระมันส์: วิธีปรับสภาพดาวอังคารให้อยู่ได้เหมือนโลก

ปัญหาแรกของการไปอยู่บนดาวอังคาร คือ อุณหภูมิ อุณหภูมิเฉลี่ยบนดาวอังคารคือ -63 องศาเซลเซียสซึ่งค่อนข้างต่ำเกินไปสำหรับมนุษย์ การทำให้อุณหภูมิของดาวอ...

คอลัมน์ ฟิสิกส์ธรรมดาสาระมันส์ : ตามสิ่งมีชีวิตนอกโลก (3)

ในปี 1984 นักวิทยาศาสตร์กลุ่มหนึ่งค้นพบหินที่อาจเป็นอุกกาบาตจากดาวอังคารที่ทวีปแอนตาร์กติกา อุกกาบาตดังกล่าวมีชื่อ Allan Hills 84001 การวิเคราะห์องค์ป...

คอลัมน์ ฟิสิกส์ธรรมดาสาระมันส์ : สถานะใหม่ของสสารในสภาพเย็นจัด

ช่วงต้นศตวรรษที่ 20 สัตเยนทระ นาถ โบส (Satyendra Nath Bose) นักฟิสิกส์ชาวอินเดียส่งการคำนวณทางควอนตัมเชิงสถิติข้ามทวีปมายังสุดยอดนักฟิสิกส์ระดับโลก อั...

คอลัมน์ ฟิสิกส์ธรรมดาสาระมันส์ : สุดยอดนักฟิสิกส์ผู้สร้างสรรค์ฟิสิกส์ยุคใหม่

เจอราร์ด ทูฟ (Gerard 't Hooft) เป็นสุดยอดนักฟิสิกส์ยุคใหม่ชาวดัตช์ผู้สร้างผลงานฟิสิกส์เชิงทฤษฎีที่ท้าทายความคิดไว้มากมาย วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกข...

คอลัมน์ ฟิสิกส์ธรรมดาสาระมันส์ : ปรากฏการณ์ tunneling ในสารตัวนำยิ่งยวด

ปรากฏการณ์ Tunneling เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นปกติสำหรับธรรมชาติของสิ่งเล็กๆ ในระดับอะตอม แต่ไม่ปรากฏให้เห็นเลยในชีวิตประจำวันรอบตัวเรา หากเราพ...

คอลัมน์ ฟิสิกส์ธรรมดาสาระมันส์ : เบื้องหลังของทุกธาตุกัมมันตรังสี

ธาตุกัมมันตรังสีเป็นธาตุที่สลายตัวแล้วลดปริมาณลงเรื่อยๆ แล้วปลดปล่อยรังสีออกมา กลไกการปล่อยรังสีของธาตุเหล่านี้เคยเป็นเรื่องลึกลับที่สุดเรื่องหนึ่งในฟ...

คอลัมน์ ฟิสิกส์ธรรมดาสาระมันส์ : เลเซอร์จับอะตอม

น้ำเดือดๆ กับน้ำเย็นๆ แตกต่างกันอย่างไร? คำตอบคือ น้ำเดือดที่มีอุณหภูมิสูงนั้น โมเลกุลเล็กๆ ของมันจะเคลื่อนไหวแบบวิ่งไปมาสะเปะสะปะมากกว่าน้ำเย็นๆ ใ...

ติดตามเรา

ข่าวเด่นประจำวัน