เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
หน้าแรก แท็ก ลลิตา หาญวงษ์

แท็ก: ลลิตา หาญวงษ์

ไทยพบพม่า : เพียว มิน เตง จากจุดสูงสุดคืนสู่สามัญ

ไทยพบพม่า : เพียว มิน เตง จากจุดสูงสุดคืนสู่สามัญ เมื่อหลายปีก่อนผู้เขียนเคยเขียนถึงเพียว มิน เตง นักการเมืองหนุ่มที่กำลังมาแรง และหนึ่งในสมาชิกพรร...

ไทยพบพม่า : โครงการสร้างทางรถไฟสายมูเซ-จ๊อกผิ่วกลับมาแล้ว

โครงการสร้างทางรถไฟสายมูเซ-จ๊อกผิ่วกลับมาแล้ว ไม่มีใครปฏิเสธได้ว่าแผนการสร้างเส้นทางสายไหมใหม่ (New Silk Road Economic Belt) เป็นแผนการยิ่งใหญ่ที่จ...

ไทยพบพม่า : การคว่ำบาตรของอียูระลอกใหม่

เมื่อไม่นานมานี้สหภาพยุโรป หรืออียู เพิ่งออกประกาศคว่ำบาตรบุคคล 19 คน และองค์กรอีก 1 แห่งจากพม่า นับเป็นการประกาศคว่ำบาตรครั้งที่ 5 แล้ว รายชื่อผู้ถูก...

อำลา-อาลัยมหาเทวีองค์สุดท้ายแห่งสีป่อ กับความยุติธรรมที่ไม่มีจริงในรัฐเผด็จการ

อิงเง่ ซาร์เจนท์ (Inge Sargent) หรือสกุลเดิม เอเบอร์ฮาร์ด (Eberhard) พบกับเจ้าจาแสง (Sao Kya Seng) เจ้าฟ้าหรือซอบวา (Sawbwa) แห่งเมืองสีป่อในรัฐฉานตอน...

เมื่อเป้าหมายเหมือน แต่วิธีการต่าง การต่อสู้บนเส้นขนานของฝ่ายต่อต้านรัฐประหารในพม่า โดย ลลิตา หาญวงษ์

ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมานับตั้งแต่เกิดรัฐประหารขึ้นในพม่า ผู้เขียนกล่าวถึงสถานการณ์การสู้รบและผลกระทบที่มีต่อทุกภาคส่วนแทบทุกสัปดาห์ เพราะเชื่อว่าพม่าจะกล...

นโยบายสหรัฐอเมริกาต่อพม่า และความสำคัญของไทย โดย ลลิตา หาญวงษ์

เมื่อ โจ ไบเดน ก้าวขึ้นมาเป็นประธานาธิบดีคนที่ 46 ของสหรัฐได้ไม่ถึงเดือน ก็เกิดรัฐประหารขึ้นในพม่า ไฮไลต์ของนโยบายสหรัฐที่มีต่อพม่าจึงเป็นมาตรการตอบโต...

ยุทธศาสตร์ของกองทัพกับการเลือกตั้งในพม่า โดย ลลิตา หาญวงษ์

การเลือกตั้งในพม่างวดเข้ามาทุกขณะ แต่ต้องยอมรับว่า แม้จะมีข่าวว่าคณะรัฐประหารจะจัดให้มีการเลือกตั้งมานานพอสมควรแล้ว แต่ก็ไม่มีใครอยากพูดถึงการเลือกตั้...

ไทยพบพม่า : การจลาจลในคุกพม่าภาพสะท้อนจากยุคอาณานิคมถึงปัจจุบัน

เรามักได้ยินกิตติศัพท์ของคุก หรือเรือนจำในพม่าว่าเป็นคุกที่ “เถื่อน” ที่สุดแห่งหนึ่ง โดยเฉพาะคุกอินเส่ง (Insein Prison) ทางตอนเหนือของย่างกุ้ง ซึ่งเป็...

ไทยพบพม่า : หนังสือเดินทางกับการควบคุมประชาชนแบบพม่าๆ

ท่านที่ติดตามคอลัมน์ ไทยพบพม่าŽ มาระยะหนึ่งคงจะทราบว่าผู้เขียนย้ำเสมอว่าการทำความเข้าใจการเมือง สังคมและเศรษฐกิจของพม่า ไม่สามารถทำได้เพียงการวิเคราะ...

สหประชาชาติกดดันพม่าได้จริงหรือ? โดย ลลิตา หาญวงษ์

คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติถือกำเนิดขึ้นในปี 1946 และมีหน้าที่หลักเพื่อ “ธำรงรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงระหว่างประเทศ” โดยมีข้อมติ (resol...

ติดตามเรา

ข่าวเด่นประจำวัน