เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
หน้าแรก แท็ก เสฐียรพงษ์ วรรณปก

แท็ก: เสฐียรพงษ์ วรรณปก

ความเป็นมาของอาบัติปาราชิก (5) : โดย เสฐียรพงษ์ วรรณปก

ปาราชิกข้อที่ 2 ทรงบัญญัติที่กรุงราชคฤห์ แคว้นมคธ มีความเป็นมาดังต่อไปนี้ ขณะที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่เขาคิชฌกูฏ กรุงราชคฤห์ มีพระภิกษุรูปหนึ่งนาม ...

ความเป็นมา ของอาบัติปาราชิก (4) โดย เสฐียรพงษ์ วรรณปก

พระสุทินทำผิดขั้นปฐมปาราชิกเป็นคนแรก จึงได้ชื่อว่าเป็น “อาทิกัมมิกะ” แปลตามศัพท์ว่า ผู้กระทำคนแรก หมายถึงผู้เป็นต้นบัญญัติหรือเป็นต้นเหตุให้บัญญัติสิก...

ความเป็นมาของอาบัติปาราชิก (2) : โดย เสฐียรพงษ์ วรรณปก

มีหมู่บ้านแห่งหนึ่งชื่อ กลันทะ อยู่ไม่ห่างจากพระนครไพศาลี เมืองหลวงแห่งแคว้นวัชชี บุตรเศรษฐีคนหนึ่งชื่อ สุทิน เป็น “ลูกโทน” ของกลันทะเศรษฐี ได้รับการเ...

ความเป็นมาของอาบัติปาราชิก (1) : โดย เสฐียรพงษ์ วรรณปก

เราได้ยินคำว่าอาบัติบ้าง ปาราชิกบ้าง ออกจะบ่อย บางคนยังไม่รู้ความหมายที่แท้จริง ถามว่ามันคืออะไรกันแน่ ขออนุญาตพูดถึงเรื่องนี้สักหน่อย เพื่อประดับสติป...

ข้อคิดเรื่องอุททิสมังสะ (จบ) : โดย เสฐียรพงษ์ วรรณปก

นักวิทยาศาสตร์คำนวณว่า เนื่องจากเกิดใหม่มากกว่าการตาย ในเวลานี้ได้มีจำนวนพลเมืองโลกมากถึง 7,600 ล้านคนและต่อไปจะเพิ่มมากทวีขึ้นอีก ถ้าไม่มีเหตุใดมาทำใ...

รื่นร่มรมเยศ ข้อคิดเรื่องอุททิสมังสะ (4) ข้อคิดสำหรับศีลข้อหนึ่ง ตอนที่ 2 โดย เสฐียรพงษ์ วรรณปก

เช่นเดียวกับการหายใจทำให้จุลินทรีย์ตาย หรือเดินกลางคืนเหยียบปลวก ซึ่งยกฝูงออกหากินกลางคืนตาย เป็นต้น เราไม่ควรถือโดยอ้อมค้อมค้านกันไปมาเลย จะกลายเป็นก...

ข้อคิดเรื่องอุททิสมังสะ (3) ข้อคิดสำหรับศีลข้อหนึ่ง : โดย เสฐียรพงษ์ วรรณปก

ข้อคิดเรื่องอุททิสมังสะ (3) ข้อคิดสำหรับศีลข้อหนึ่ง : โดย เสฐียรพงษ์ วรรณปก ศีลข้อหนึ่ง มีความมุ่งหมายเพื่อมิให้มีการฆ่าสัตว์โดยเจตนา มีแง่คิดบางป...

ข้อคิดเรื่องอุททิสมังสะ (2) อัฏฐกถาแห่งชีวกสุตต์ : โดย เสฐียรพงษ์ วรรณปก

คําว่า “เนื้อที่เห็นแล้ว” คือเห็นเขาฆ่าเนื้อหรือปลา แล้วนำมาเพื่อประโยชน์แก่ภิกษุฯ คำว่า “เนื้อที่ได้ฟังแล้ว” คือได้ฟังว่า เขาฆ่าเนื้อหรือปลาแล้ว นำมา...

ข้อคิดเรื่องอุททิสมังสะ (1) อุททิสมังสะ คืออะไร? : โดย เสฐียรพงษ์ วรรณปก

สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ สวนมะม่วงของหมอชีวกโกมารภัจจ์ ใกล้เมืองราชคฤห์ ครั้งนั้น หมอชีวกโกมารภัจจ์เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ แ...

เรื่องของตัณหา : โดย เสฐียรพงษ์ วรรณปก

ชาวพุทธผู้ศึกษาพระพุทธศาสนา ส่วนมากมักได้ยินแต่กิเลสสามตระกูล อันเรียกว่า อกุศลมูล (รากเหง้าแห่งอกุศลหรือความชั่ว) คือ โลภะ โทสะ โมหะ แต่น้อยรายจะได้ย...

ติดตามเรา

ข่าวเด่นประจำวัน