เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
หน้าแรก แท็ก สืบจากภาษา เชื่อมมหาสมุทร ขุดรากเหง้า คนไทยอยู่ที่นี่

แท็ก: สืบจากภาษา เชื่อมมหาสมุทร ขุดรากเหง้า คนไทยอยู่ที่นี่

จากกำปุงเมืองชวา ถึงกำปุงเมืองจีน

ในภาษาอินโดนีเซียมีคำเก่าแก่ชนิดรากเหง้าอยู่คำหนึ่งคือ “kalima อ่านว่า กาลีม่า” ประกอบขึ้นจากคำสองคำว่า “kali”+“ma” โดย “kali” หมายถึง ครั้ง คราว ใช้ก...

จาก ‘รุง’ สู่ ‘รัง’ สัมพันธ์ภาษาข้ามฝั่งทะเลสมุทร

ภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนแถบอินโดนีเซียเรียกสัตว์ปีกจำพวกนกรวมถึงไก่ในสามคำคือ “manuk อ่านว่า มา-นุ๊ก” “burung อ่านว่า บุ-รุง” และ “ayam อ่านว่า อา-ยัม”...

‘มานุก’ มาเป็น ‘นก’ ? เรื่องของวิหคในถ้อยคำอุษาคเนย์

ภาษาตระกูลออสโตรนีเซียนแถบอินโดนีเซียเรียกสัตว์ปีกจำพวกนกรวมถึงไก่ในสามคำคือ “manuk อ่านว่า มา-นุก” “burung อ่านว่า บุ-รุง” และ “ayam อ่านว่า อา-ยัม” ...

‘น้ำ’ ศัพท์พื้นฐานในอุษาคเนย์ เชื่อมฟากทะเลด้วยรากแห่งภาษา

ในปัจจุบันนักวิชาการผู้ศึกษาด้านประวัติและภาษาศาสตร์กระแสหลักมีแนวคิดเรื่องต้นกำเนิดของพวก “ออสโตรนีเซียน” อยู่สองแนวทางหลัก แนวทางหนึ่งคิดว่ามีถิ่นก...

เส้นทางของตัว “ผู้” ในความเป็นมาของ ‘คนไท’

ตัว “ผู้” ถูกมัดปมผูกสนิทแน่นไว้กับประวัติความเป็นมาของคนสาย “ไท-ไต” ในคำคู่ขวัญว่า “ผู้ไท” “ภูไท” อย่างยาวนาน ไล่ย้อนขึ้นไปจนถึงถิ่นของพวกเมืองแถน ดิ...

ตามกลิ่น “ปุเหลา” รากเหง้าคำว่า “ปลา” ?

“ปุ-เหลา” หรือ “pulau” คำภาษาอินโดในตระกูลออสโตรนีเซีย แปลว่า เกาะ ซึ่งโผล่อยู่กลางทะเลกลางน้ำที่ไหนซักแห่ง มาจากคำสองคำคือ “pu อ่านว่า ปุ” หรือ “ampu...

ติดตามเรา

ข่าวเด่นประจำวัน