เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
หน้าแรก ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

การฟื้นฟูการปฏิบัติธรรม สมัยหลังกรุงเก่า : โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

สยามเป็นหนึ่งในดินแดนเพียงไม่กี่แห่งที่พระพุทธศาสนาสามารถประดิษฐานไว้ได้อย่างมั่นคง ในช่วงปลายสมัยของกรุงศรีอยุธยา ความรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนายังเป็น...

โรงงานของระบบการศึกษา โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

ระบบการศึกษาของไทยมีการผลิตที่ล้นเกินและมีข้อกังขาด้านคุณภาพมาเป็นเวลานานแล้ว การทุ่มเทงบประมาณของรัฐจำนวนมากมายทุกปีมิได้ทำให้คุณภาพการศึกษายกระดับขึ...

ชื่อเสียงและคุณภาพของมหาวิทยาลัย โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

ความตกต่ำของระบบการศึกษาในประเทศไทยมักได้รับสนใจเมื่อเป็นข่าวว่าหน่วยงานเอกชนบางแห่งแสดงออกมาอย่างเปิดเผยว่าจะไม่รับพนักงานจากบัณฑิตที่จบจากมหาวิทยาลั...

ความคุ้มค่าของระบบการศึกษา : โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

ระบบการศึกษาของไทยถูกเรียกร้องให้มีการปฏิรูปมาเนิ่นนานแล้ว ความล่าช้าที่ไม่เท่าทันการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีได้สร้างความกังวลเกี่ยวกับความล...

ดุลยภาพดุลยพินิจ : คาถา เย ธัมมาฯ วันพระสารีบุตร : โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

วันที่ 3 พฤศจิกายน 2560 หรือวันเพ็ญเดือน 12 นี้เป็นวันคล้ายวันปรินิพพานของพระสารีบุตร พระอัครสาวกเบื้องขวาแห่งพระพุทธองค์ แม้ว่าวันนี้จะเป็นวันที่ห...

ดุลยภาพดุลยพินิจ : ความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีน : โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

สาธารณรัฐประชาชนจีนเคยถูกคาดคะเนไว้อย่างถูกต้องว่าจะเป็นยักษ์ใหญ่ที่ตื่นจากหลับ และถึงแม้จะมิใช่มหาอำนาจสูงสุดแห่งศตวรรษนี้ ก็มีความโดดเด่นเป็นที่ประจ...

มองร่องรอยพระพุทธศาสนา ยุคทวารวดี โดย : ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

เมื่อเดือนเมษายนที่ผ่านมา ผู้เขียนกับพี่น้องได้ไปทำบุญที่วัดมหาธาตุวรวิหาร ราชบุรี และได้มีโอกาสไปเยี่ยมชมพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติราชบุรี ตามคำแนะนำของน้...

ดุลยภาพดุลยพินิจ : การเมืองใหม่ บทเรียนจากทรัมป์ : โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

ความต้องการทางการเมืองของประชาชนในสังคมหนึ่งๆ มักได้รับอิทธิพลจากแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและความสามารถของระบบการเมืองในการตอบสนองความต้องกา...

โลกาภิวัตน์กับการเมือง : บทเรียนจากฝรั่งเศส : โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

สหภาพยุโรปได้ผ่านยุคของการเปิดเสรีทางการค้าและการลงทุนเข้าสู่เป้าหมายทางการเมืองที่จะให้สหภาพยุโรปมีความเป็นหนึ่งเดียวภายใต้การนำของชาติใหญ่ในยุโรปตะว...

ดุลยภาพดุลยพินิจ : สามขั้วของระบบโลก สหรัฐ-จีน-รัสเซีย : โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

การเปลี่ยนแปลงของระบบโลกมีรากฐานมาจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ แต่การเมืองระหว่างประเทศก็มีส่วนสำคัญในการกำกับการเปลี่ยนแปลงของดุลอำนาจโลกด้วย ประธ...

ติดตามเรา

ข่าวเด่นประจำวัน