เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
หน้าแรก แท็ก ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

แท็ก: ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

ความเป็นชาติของชาวพุทธ : โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

ความเป็นชาติของชาวพุทธ : โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

ความเป็นชาติของชาวพุทธ ความเป็นชาติทั่วโลกกำลังสั่นคลอนด้วยโลกไร้พรมแดน เศรษฐกิจท้องถิ่นและสังคมภายในประเทศกำลังพัฒนาได้รับผลกระทบ ศาสนา วัฒนธรรมและค...

ดุลยภาพ ดุลยพินิจ : วิปัสสนาวงศ์ในไทย มอญและพม่า(5) โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

วิปัสสนาวงศ์ในสยามเป็นการสืบทอดอริยารหันตวงศ์โดยมีลังกาวงศ์เข้ามาช่วยชำระและผสมผสานอย่างกลมกลืนตลอดความเป็นมาในประวัติศาสตร์ ในสมัยทวารวดีสมณวง...

ดุลยภาพ ดุลยพินิจ : การฟื้นฟูการปฏิบัติธรรม สมัยปีกึ่งพุทธกาล-2540 (จบ) โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

ก่อนปีกึ่งพุทธกาลกองทัพธรรมสายหลวงปู่มั่น ภูริทัตตเถระมีความมั่นคงมากในแถบอีสานและภาคเหนือ วัดป่าสาลวันและวัดบูรพารามยังเป็นศูนย์กลางหลักในการอบรมการป...

ดุลยภาพ ดุลยพินิจ : การฟื้นฟูการปฏิบัติธรรม สมัยปีกึ่งพุทธกาล-2540 (1) โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

สมัยปีกึ่งพุทธกาลเป็นห้วงเวลาสำคัญสำหรับชาวพุทธ ซึ่งเชื่อสืบกันมาว่าพระพุทธศาสนาจะมีอายุยาวถึง 5,000 ปี และเมื่อถึงช่วงกึ่งกลางพระพุทธศาสนาจะกลับมารุ่...
ดุลยภาพ ดุลยพินิจ : ดวงตาของฌาน : โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

ดุลยภาพ ดุลยพินิจ : ดวงตาของฌาน

ในฌานสูตรมีพระพุทธพจน์ว่าอาสวะสิ้นไปเพราะอาศัยฌานทั้งหลาย ฌานเป็นปัจจัยของการบรรลุธรรม ทว่าทำไมพราหมณ์โบราณที่เป็นฤๅษีดาบสและเจริญฌานในสมัยก่อนพุทธ...

ดุลยภาพ ดุลยพินิจ : เมตตาไม่มีประมาณ เมตตาตลอดโลก โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

มีผู้บันทึกไว้ว่าประมาณปี พ.ศ.2540 ท่านพระอาจารย์หลวงปู่หลอด ปโมทิโตเคยกล่าวกับหลวงปู่บุญหนา ธัมมทินโนซึ่งไปกราบนมัสการท่านที่วัดใหม่เสนานิคม ลาดพร้าว...
ความอยากได้ในสัมผัส : โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

ความอยากได้ในสัมผัส : โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

พระภิกษุในธรรมวินัยต้องถือพรหมจรรย์ที่มีระยะห่างจากการสัมผัสของเพศตรงข้าม ผู้ที่ยังเสน่หาและกระหายในทางกามมักจำต้องลาสิกขาก่อนเวลา แห่งที่ของพระภิกษุค...
มรรคและอริยมรรค : โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

มรรคและอริยมรรค : โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

อริยมรรคอันมีองค์แปดจำแนกได้เป็น 3 ส่วนคือศีล สมาธิและปัญญาและเรียกอีกอย่างว่า “อริยอัฏฐังคิกมรรค” สติปัฏฐานหรือโพธิปักขิยธรรมเป็นทางสายเดียวที่จะนำไป...

การเดินทางในอริยสัจ : โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสรู้อริยสัจ 4 สิ่งที่ยากมากสำหรับชาวพุทธคือการปฏิบัติเพื่อให้เข้าใจอริยสัจ 4 นั้นกระทำได้อย่างไร ในคืนวันตรัสรู้ พระพุท...

ปัญญาของโพชฌงค์ โดย ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์

โพชฌงค์เป็นคำที่พระพุทธองค์ทรงบัญญัติขึ้นใหม่ ไม่มีคำที่ใกล้เคียงในสมัยก่อนพุทธกาล พุทธศาสนิกชนจำนวนมากคุ้นเคยกับคำนี้ว่าเป็นบทสวดที่ทำให้หายจากความเจ...

ติดตามเรา

ข่าวเด่นประจำวัน